Category: ARTICLE-FUTURED

เทคโนโลยีน่ารู้ของเครื่องบินรุ่น Boeing 777X

The Boeing 777X เป็นเครื่องบินชุดล่าสุดของตระกูล Boeing 777 เครื่องยนต์คู่แฝดลำตัวกว้างจากเครื่องยนต์พาณิชย์ของโบอิ้ง 777X มีเครื่องยนต์ GE9X ใหม่ ปีกประกอบใหม่ พร้อมปลายปีกพับ ความกว้างของห้องโดยสาร ความจุมากขึ้น ที่นั่งมากขึ้น และมีการหยิบเทคโนโลยีจากโบอิ้ง 787 มาปรับใช้ด้วย รองรับผู้โดยสารได้ 384 คน มีช่วง 8,730 nmi (16,170 กม.)

Boeing 797 สุดยอดเครื่องบินโดยสารรุ่นใหม่ล่าสุด

Boeing ได้เปิดตัวเครื่องบินขนาดกลางใหม่ (NMA) รุ่น 797 สำหรับเครื่องบินขนาดกลางใหม่ของโบอิ้ง (NMA) นี้ ยังคงมีโมเมนตัมที่สำคัญซึ่งดึงความสนใจของผู้รอชมเป็นจำนวนมา สำหรับเครื่องบิน Boeing ยังมีความสำคัญอย่างต่อเนื่องในการบินไปในเส้นทางอันหลากหลาย ทำให้ Boeing ทำกำไรได้อย่างมากในด้านการผลิต แต่อย่างไรก็ตาม Boeing รุ่นนี้มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นในการผลิต ทำให้มีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย แต่ก็แลกมากับประสิทธิภาพในระดับสูง

การสร้างเครื่องบิน Boeing 747 จากเครื่องบินขนส่งทางทหารกลายเป็นเครื่องบินโดยสารที่สำคัญได้อย่างไร

ในปัจจุบันการคมนาคมไปต่างประเทศ มีการเจริญเติบโตมาก เครื่องบินที่ใช้ในคมนาคมควรจะมีขนาดที่ใหญ่และรองรับการเดินทางในครั้งละมากๆ ได้ จนกระทั้งทุกวันนี้มีเครื่องบิน รุ่น Boeing 747 ที่สามารถตอบรับการเดินทางของเราได้ เราจะมาดูกันว่าประวัติของเจ้า Boeing 747 นี้กัน กว่าจะเกิดขึ้นมาได้ต้องผ่านอะไรมาบ้าง ในปี 1960 ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ทางสังคมอยู่หลายครั้ง เช่น การแข่งกันขนส่งมนุษย์ขึ้นไปยังดวงจันทร์ ความเดือดดานของสงครามเวียดนาม ความตึงเครียดจากสงครามเย็น ในช่วงเวลา 10 ปีก่อนหน้านั้น การเดินทางทางอากาศก็ได้ปรับเปลี่ยนตามไปด้วย จากการเดินทางของคนรวย เป็นคนทั่วไปก็สามารถใช้บริการได้ โดยจุดที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง เครื่องบินในสมัยนั้นก็คือโบอิ้ง 707 ซึ่งมีการเติบโตเป็นอย่างมาก จึงทำให้ความแออัดในการเดินทางสูง แต่ 707 ยังใช้การขับเคลื่อนด้วยใบพัดอยู่เลย การเดินทางเพื่อที่จะผ่านพ้นสภาพอากาศที่เลวร้ายไปได้ เครื่องบินไอพ่น บินได้สูงขึ้น จุคนได้มากขึ้น สามารถบินถึงจุดหมายได้เร็วขึ้น ทำให้เกิดความคิดที่พัฒนาเจ้า 707 ให้ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม  ในปีเดียวกันนั้น ทางกองทัพสหรัฐฯ กำลังรับมอบเครื่องบิน Lockheed C-141 Starlifte ซึ่งเป็นเครื่องบินไอพ่น […]

สุดยอดเครื่องลำเลียงรุ่น c130j hercules

c130j-hercules

รัฐบาลสหรัฐฯ เป็นผู้คิดค้นและครอบครองเครื่องบินขนส่งลำเลียง ซึ่งใช้กันมาอย่างยาวนานมากสุดอีกรุ่นหนึ่งของโลก ซึ่งได้ผ่านการพัฒนาพร้อมปรับปรุงให้มีความทันสมัย ก้าวล้ำเทคโนโลยีเรื่อยมา จนกระทั่งถึงคราวก่อกำเนิดของ ‘C-130J’ มาพร้อมกับฉายา ‘Super Hercules’ ตระกูล ‘C-130’ ที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ย้อนไปในช่วงสมัย10 ปี ณ สงครามเวียดนาม ‘Hercules’ ถูกนำมาใช้งานอย่างหนักหน่วงมากที่สุด หากแต่ขณะเดียวกัน ‘Hercules’ ในอีกเวอร์ชันหนึ่งก็กลายเป็นเพชฌฆาต ที่มีความน่าเกรงขามมากที่สุด เมื่อถึงคราวกลายสภาพเป็นอากาศยานติดปืน หรือ ‘Gunship’ ที่มีชื่อเสียง และหลังจากมีการผ่านยุคสงครามเวียดนาม เดินทางเข้าสู่ยุคใหม่ อากาศยานตระกูลนี้ ก็ยังผ่านสงครามมาอีกมากมายนับครั้งไม่ถ้วน จนถึงขนาดได้ถูกนำไปใช้ในความขัดแย้งต่างๆ ทุกๆแห่งหนที่กองทัพสหรัฐฯ เข้าไปมีเอี่ยวอยู่ด้วย ‘c130j hercules’ ถูกสร้างขึ้นมาเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1954 ปัจจุบันนี้มีการสร้างมามากกว่า 2,300 ลำแล้ว โดยมีหน้าที่ คือ ขนส่งข้าวของสัมภาระต่างๆไปยังเป้าหมาย สามารถบรรจุกองกำลังได้ 128 นาย และกองกำลังพลร่มอีก 92 นาย […]

เครื่องบินรบรุ่นล่าสุดของรัสเซียที่โลกต้องรู้จัก

2017 รัสเซียเปิดตัวเครื่องบินรบ Su-57 ที่มีชื่อเสียงว่ามีกำลังเหนือกว่าเครื่องบินรบ F-35 ของสหรัฐฯ ทางรัสเซีย ได้นำเครื่องบินรบ Su-57 โดยเป็นเครื่องบินรบยุค 5 ซึ่งนำมาแสดงออกเป็นครั้งแรกในงานแสดงอาวุธ ‘International Army Games’ ประจำปี 2017 บริเวณชานกรุงมอสโก วันที่ 25 สิงหาคม 2017 มี 28 ประเทศ นอกเหนือจากองค์การ NATO ยกเว้นประเทศกรีซ จากทั้งหมด 70 ประเทศ มาเข้าร่วมการแสดงขีดขั้นสมรรถนะ โดยเครื่องบินรบ Su-57 ภายใต้การผลิตของ บริษัท Sukhoi อันเป็นเครื่องบินรบ 2 เครื่องยนต์ที่นั่งเดี่ยว ที่พึ่งได้รับการยกระดับให้เป็นรุ่น Su-57 หากแต่บรรดาสื่อมวลชน มักจะเรียกเครื่องบินรุ่นนี้ว่า ‘Ghost’ เพราะได้รับการออกแบบให้ล่องหนได้ แม้กระทั่งเรดาร์ของศัตรูก็ไม่อาจมองเห็นหรือตรวจจับได้ นอกจากนี้มันยังมีสมรรถนะอันยอดเยี่ยมโดดเด่นอีกมากมาย นอกจากนี้ยังสามารถปฏิบัติการได้เฉกเช่นเดียวกับโดรน สามารถควบคุมได้จากระยะไกล […]

เครื่องบินขนส่งที่ใหญ่ที่สุดในโลกเท่าที่โลกเคยสร้างมา

เครื่องบินขนส่งขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีนามว่า ‘Antonov 225’ มันถูกสร้างมาอย่างยาวนานมากกว่า 10 ปีแล้ว และมีชื่อย่อว่า A 225 สร้างโดย O.K.Antonov ASTC ในปี ค.ศ. 1988 ณ ประเทศรัสเซีย ในอดีตเคยเป็นเครื่องบินใช้ในสงครามเย็น มันสามารถบรรทุก รถถังและเครื่องบินไอพ่นได้พร้อมๆกัน บริเวณด้านบนของเครื่องบนยังสามารถบรรทุกเครื่องบินอีกลำได้ด้วย บรรยายเพียงเท่านี้ คุณก็คงทึ่งถึงความใหญ่ของมันแล้ว นอกจากนี้ในอดีตใช้บรรทุกกระสวยอวกาศ ชื่อว่า ‘Buran’ ‘Antonov 225’ มีทางออก 2 ทาง คือ ท้ายเครื่อง และเปิดหัวเครื่องเพื่อออกข้างหน้าได้อีกด้วย ต่อมาเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลาย เครื่องบินลำนี้จึงถูกเก็บไว้ในประเทศยูเครนถึง 8 ปี จนถึงปี ค.ศ. 2001 เครื่องบินลำนี้เป็นเครื่องบินขนส่งขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ลงจอดได้ทุกสภาพ ประกอบด้วย 6 เครื่องยนต์มาพร้อมกำลังอันแรงมหาศาล ถึง 300,000 ปอนด์ […]

เครื่องบินรบขับไล่รุ่นล่าสุดของอเมริกา

F-35 Lightning II เครื่องบินขับไล่ Generation 5 ได้รับการสร้างโดยบริษัท Lockheed Martin เจ้าของเดียวที่พัฒนา F-22 Raptor โดยบริษัทแห่งนี้ได้รับทุนในการวิจัยจำนวนมากจากกองทัพสหรัฐฯ และทุนบางส่วนจากประเทศอังกฤษรวมทั้งที่อื่นๆ พวกเขาผลิตเครื่องบินรบขับไล่ออกมาทั้งหมด 3 รุ่น โดยทั้ง 3 รุ่น นี้ได้รับการออกแบบให้มีการใช้งานอันแตกต่างกัน สำหรับชื่อรุ่นจะถูกเรียกเป็น A-C โดยแบ่งตามลักษณะการใช้งาน ยกตัวอย่างเช่น รุ่น A เป็นเครื่องแบบขึ้น – ลง ตามปกติโดยใช้ Runway ในการนำเครื่องขึ้น , รุ่น B ขึ้น – ลง แบบแนวดิ่งได้ มีความคล้ายคลึงกับเฮลิคอปเตอร์ สำหรับรุ่น C ใช้ประจำการบนเรือบรรทุกเครื่องบิน โดยความแตกต่างของทั้ง 2 รุ่นนี้ คือ บริเวณปีกที่มีขนาดใหญ่กว่าทั้ง 2 […]

เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ที่ใช้ในการทหารของไทย

โดยอากาศยานทั้งหลาย ไม่ว่าจะทั้งเครื่องบินหรือเฮลิคอปเตอร์ก็ตาม ที่อยู่ในสังกัดของหน่วยงานราชการ จะมีอยู่ประมาณ 1,000 ลำ สำหรับใช้ในงานราชการของประเทศไทย โดยอากาศยาน ไม่ว่าจะทั้งเครื่องบินหรือเฮลิคอปเตอร์ ล้วนแต่อยู่ภายใต้สังกัดของกองการบินทหารเรือ ซึ่งขึ้นตรงกับกองเรือยุทธการ โดยทำหน้าที่เป็นหน่วยเตรียมพล เฉกเช่นเดียวกับกองเรือต่างๆ ภายใต้สังกัด กร. ใน กบร. แบ่งเป็นหน่วยขนาดกองบินจำนวน 3 กองบิน ได้แก่ กองบิน 1 – 3 หากแต่กองบิน 3 ที่เป็นกองบินประจำเรือทำหน้าที่ บรรทุกเฮลิคอปเตอร์ ถูกเรียกว่า ‘หน่วยบิน ร.ล.จักรีนฤเบศร’ อย่างไรก็ตามในแต่ละกลุ่มใหญ่จะถูกแบ่งออกเป็นฝูงบินย่อยลงไปอีก นอกจากนี้ยังมีการจัดหน่วยตามแบบ Type organization เช่น อากาศยานในฝูงบินเดียวกัน ก็จะเป็นรุ่นเดียวกัน อันมีขนาดหรือสมรรถนะใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังมีการปฏิบัติภารกิจที่ใกล้เคียงกันอีกด้วย อากาศยานใน กบร. ทำหน้าที่สนับสนุนหน่วยรบต่างๆ ของ ทร. ทั้งหมด ทั้งหน่วยงานในสังกัดของ กร. เอง […]